10 การตอบสนองความต้องการของผู้ใช้บริการ

(100) มีนโยบายและกำหนดวิธีปฏิบัติในการจัดการกับข้อร้องเรียน (MT 10.3) และในการสอบถามความคิดเห็น การสำรวจความพึงพอใจ อย่างน้อย ปีละ 1 ครั้ง เพื่อค้น
10 การตอบสนองความต้องการของผู้ใช้บริการ
(99) กำหนดผู้รับผิดชอบที่มีคุณวุฒิและความสามารถเหมาะสมในการให้คำปรึกษาเกี่ยวกับผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ มีบันทึกการสื่อสารในการให้บริการคำปรึกษา
10 การตอบสนองความต้องการของผู้ใช้บริการ
(98) กำหนดให้มีที่ปรึกษาทางวิชาการ เช่น นักเทคนิคการแพทย์, แพทย์สาขาต่าง ๆ หรือนักวิชาการ มาให้คำปรึกษาเกี่ยวกับความเหมาะสมของบริการที่ทำอยู่ มีราย
10 การตอบสนองความต้องการของผู้ใช้บริการ
(97) มีการเฝ้าระวัง ติดตาม และประเมินผลตัวชี้วัดคุณภาพที่ใช้ติดตามประสิทธิผลการปฏิบัติงาน (Key Performance Index, KPI) และตัวชี้วัดคุณภาพของกระบวนก
9 การพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่อง
(96) มีกิจกรรมพัฒนาคุณภาพภายในห้องปฏิบัติการ ระหว่างหน่วยงาน /ระหว่างทีม หรือระหว่างสาขาวิชาชีพต่าง ๆ (MT 9.2)
9 การพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่อง
(95) มีการสื่อสารผลการทบทวนระบบบริหารคุณภาพ ไปยังบุคลากรภายในห้องปฏิบัติการและผู้เกี่ยวข้อง (MT 9.1.2) และสรุปผลนำเสนอต่อผู้บริหารเพื่อสนับสนุนทรัพ
9 การพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่อง
(94) การทบทวนต้องครอบคลุมหัวข้อ ทรัพยากรนำเข้า (MT 9.1.1.1) กิจกรรม (MT 9.1.1.2) ผลลัพธ์ (MT 9.1.1.3) และผลกระทบต่อผู้ใช้บริการ (MT 9.1.1.4)
9 การพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่อง
(93) กำหนดแผนทบทวนระบบคุณภาพอย่างน้อย ปีละครั้ง นำ ผลการทบทวน ทั้งปัญหา อุปสรรค โอกาสพัฒนา นำไปเป็นข้อมูลวางแผนปฏิบัติการในวงรอบถัดไป (MT 9.1.1)
9 การพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่อง
(92) มีบันทีกผลการแก้ไขโอกาสพัฒนาที่พบจากการตรวจติดตามภายในตามมาตรฐานงานเทคนิคการแพทย์และการตรวจติดตามความปลอดภัยในห้องปฏิบัติการ ภายในระยะเวลาที่ห
8 การตรวจติดตามภายใน
(91) มีบันทึก/รายงานผลการตรวจติดตาม ระบุโอกาสพัฒนาในเชิงบริหารจัดการ เชิงเทคนิควิชาชีพ และระบบความปลอดภัยในห้องปฏิบัติการ ส่งบันทึก/รายงานผลการตรวจ
8 การตรวจติดตามภายใน